第10回:統合とは?
สวัสดีค่ะ こんにちは!エミリーです!
ดองกันไปนานมาก เรากลับมาชดใช้กรรมกันแล้วค่ะ ห้าห้าห้าห้าห้าห้า
คราวนี้เราจะมาพูดถึง統合(integrating)กันค่ะ มันคืออะไร...
คำศัพท์ภาษาไทยที่ใกล้ที่สุด ก็คง "บูรณาการ" ค่ะ
แล้วเราจะมาบูรณาการ"อะไร"ให้เข้ากับ"อะไร"ล่ะ??
จากภาพก็จะเห็นได้ว่า ในกระบวนการเรียนรู้ภาษาที่2ที่ผ่าน input, intake อะไรมาแล้วนี่ ก่อนที่มันจะผลักออกมาเป็น output (โดยเฉพาะสกิลการพูดและเขียน) นั้น ต้องผ่านการ統合หรือ integrate(บูรณาการ)มาก่อนนั่นเอง
แล้วในขั้นตอนการบูรณาการ ต้องมีอะไรบ้าง?
1. 仮説検証 (hypothesis testing) เข้าใจว่ามันคือการที่เรารับinputเข้ามา แล้วลองมานึก มาคาดการณ์ในหัวสมองเองว่าต้องสร้างรูปประโยคแบบนี้นะ ผันแบบนี้ พูดแบบนี้ ก่อนที่จะพูดออกไป(ในรูปแบบของInterlanguage)
2. 再構築 (restructuring) ประหนึ่งเป็นการอัพเดทคลังข้อมูลความรู้ทางการเรียนรู้ภาษาที่2ของเรา อาจจะมีการปรับข้อมูลให้มีความแน่นขึ้นในไวยากรณ์ภาษาที่เราเรียน เช่น
แล้วไอ้เจ้าพวกความรู้เหล่านี้ที่มีการอัพเดทข้อมูลและวิธีการใช้บ่อยๆเนี่ย มันก็จะถูกเก็บอยู่ในความจำระยะยาว (ตัวผู้เรียนจะไม่ลืมง่ายๆนั่นเอง)
3. 自動化 (automatization) หากเรามีการใช้ภาษาที่2บ่อยๆ ได้ฟังบ่อยๆ เห็นตัวอย่างรูปประโยคบ่อยๆแล้ว จากข้อเมื่อกี๊ที่มันถูกเก็บเป็นความจำระยะยาวแล้ว เราก็สามารถดึงความรู้นั้นๆออกมาใช้ได้อย่างง่ายๆ และเป็นธรรมชาติ
ตัวอย่าง(ที่คิดเอง ไม่ทราบว่าถูกต้องหรือไม่)เช่น การผัน Vなければならない ต้อง...
หากต้องการผันกริยา 行く สมองเราก็จะทำการคาดการณ์(仮説検証)ว่าต้องผันแบบรูปV
ないนะ เลยจะผันเป็น 行かなければならない
เมื่อเรียนต่อไปเรื่อยๆ เราก็เรียนว่าต้อง... ก็มี表現อีกแบบหนึ่งด้วย เช่น Vなくてはいけない、Vないといけない(再構築)
เมื่อเราเห็นเรื่อยๆฝึกพูดหรือเขียนไปเรื่อยๆ เราก็จะพูดออกมาได้อย่างอัตโนมัติ ไม่ต้องไปมัวนั่งนึกว่า เอ๊ะ Vないมันผันอย่างไรนะ เป็นต้น(自動化)
ยากมากเลย ㅠㅠ
ไว้พบกันใหม่เอนทรี่หน้านะคะ
ดองกันไปนานมาก เรากลับมาชดใช้กรรมกันแล้วค่ะ ห้าห้าห้าห้าห้าห้า
คราวนี้เราจะมาพูดถึง統合(integrating)กันค่ะ มันคืออะไร...
คำศัพท์ภาษาไทยที่ใกล้ที่สุด ก็คง "บูรณาการ" ค่ะ
แล้วเราจะมาบูรณาการ"อะไร"ให้เข้ากับ"อะไร"ล่ะ??
จากภาพก็จะเห็นได้ว่า ในกระบวนการเรียนรู้ภาษาที่2ที่ผ่าน input, intake อะไรมาแล้วนี่ ก่อนที่มันจะผลักออกมาเป็น output (โดยเฉพาะสกิลการพูดและเขียน) นั้น ต้องผ่านการ統合หรือ integrate(บูรณาการ)มาก่อนนั่นเอง
แล้วในขั้นตอนการบูรณาการ ต้องมีอะไรบ้าง?
1. 仮説検証 (hypothesis testing) เข้าใจว่ามันคือการที่เรารับinputเข้ามา แล้วลองมานึก มาคาดการณ์ในหัวสมองเองว่าต้องสร้างรูปประโยคแบบนี้นะ ผันแบบนี้ พูดแบบนี้ ก่อนที่จะพูดออกไป(ในรูปแบบของInterlanguage)
2. 再構築 (restructuring) ประหนึ่งเป็นการอัพเดทคลังข้อมูลความรู้ทางการเรียนรู้ภาษาที่2ของเรา อาจจะมีการปรับข้อมูลให้มีความแน่นขึ้นในไวยากรณ์ภาษาที่เราเรียน เช่น
แล้วไอ้เจ้าพวกความรู้เหล่านี้ที่มีการอัพเดทข้อมูลและวิธีการใช้บ่อยๆเนี่ย มันก็จะถูกเก็บอยู่ในความจำระยะยาว (ตัวผู้เรียนจะไม่ลืมง่ายๆนั่นเอง)
3. 自動化 (automatization) หากเรามีการใช้ภาษาที่2บ่อยๆ ได้ฟังบ่อยๆ เห็นตัวอย่างรูปประโยคบ่อยๆแล้ว จากข้อเมื่อกี๊ที่มันถูกเก็บเป็นความจำระยะยาวแล้ว เราก็สามารถดึงความรู้นั้นๆออกมาใช้ได้อย่างง่ายๆ และเป็นธรรมชาติ
ตัวอย่าง(ที่คิดเอง ไม่ทราบว่าถูกต้องหรือไม่)เช่น การผัน Vなければならない ต้อง...
หากต้องการผันกริยา 行く สมองเราก็จะทำการคาดการณ์(仮説検証)ว่าต้องผันแบบรูปV
ないนะ เลยจะผันเป็น 行かなければならない
เมื่อเรียนต่อไปเรื่อยๆ เราก็เรียนว่าต้อง... ก็มี表現อีกแบบหนึ่งด้วย เช่น Vなくてはいけない、Vないといけない(再構築)
เมื่อเราเห็นเรื่อยๆฝึกพูดหรือเขียนไปเรื่อยๆ เราก็จะพูดออกมาได้อย่างอัตโนมัติ ไม่ต้องไปมัวนั่งนึกว่า เอ๊ะ Vないมันผันอย่างไรนะ เป็นต้น(自動化)
ยากมากเลย ㅠㅠ
ไว้พบกันใหม่เอนทรี่หน้านะคะ
เป็นประโยชน์ในการอ่านสอบอีกแล้วค่ะ กราบบTT
返信削除