Homeworkあいづち+สิ่งทีคิดได้ยามป่วย(เป็นโรคกระเพาะ)
สวัสดีค่าาา こんばんは!エミリーです。
ขอโทษที่หายไปนานนะคะสำหรับสัปดาห์นี้
ป่วยเป็นโรคกระเพาะอาหารอักเสบค่ะ กระเพาะอาหารเป็นแผล
เลยนอนอย่างเดียวไม่ได้ทำอะไรเลยค่ะ 泣
กว่าจะอธิบายให้เพื่อนชาวญี่ปุ่นฟังให้รู้เรื่องว่าตัวเองเป็นอะไร
คือนานมากค่ะ เลยอยากมา อธิบายศัพท์โรคกระเพาะให้ฟังค่ะ (ก่อนเราเข้าเรื่องของจริงค่ะ) 笑
✨คำศัพท์น่ารู้✨
โรคเกี่ยวกับกระเพาะ 胃病
โรคกระเพาะอาหารอักเสบ 胃潰瘍
โรคกระเพาะอาหารอักเสบแบบเฉียบพลัน 急性胃潰瘍
โรคกระเพาะอาหารอักเสบแบบติดเชื้อ 慢性胃潰瘍
กระเพาะอาหารเป็นแผล びらん
กระเพาะทะลุ (胃に)穴があいてしまう。
เชื้อโรคPylorus(เชื้อโรคในกระเพาะอาหาร) ピロリ菌
การส่องกล้องตรวจภายใน(ร่างกาย) 内視鏡検査
กล้องส่องกระเพาะ 胃カメラ
เอ็กซ์เรย์ X射線
มาค่ะ เรามาเข้าเรื่องการบ้านกันดีกว่าค่ะ
それはあいづち!!!
Before
外国人
เราติดการあいづちแบบเดิมๆ แบบไทยๆ คือ"อืม", "แล้วไงต่อ", แทรกเพื่อนพูด 55555
การあいづちของภาษาญี่ปุ่นของเรา ก็เลยติดรูปแบบมาจากภาษาไทย มีอยู่แค่5แบบค่ะ คือうん、えっ?、で?、ツッコミ、笑い วนไปวนมาอย่างนี้ล่ะค่ะ มันเลยไม่ค่อย盛り上がるซักเท่าไหร่ แล้วนำเสียงเราก็เรียบๆ เสียงต่ำด้วยค่ะ
After
ハゲの彼氏
เมื่อเริ่มเรียนรู้การあいづちที่ดีและเหมาะสมกับเราแล้ว ก็ลองมาใช้ดูค่ะ รู้สึกว่ามันไม่ค่อยวนที่5อย่างด้านบนเท่าไหร่แล้ว เริ่มมีการทักทายกับผู้พูดตอนต้น(挨拶)มีการ繰り返し มีการใช้คำศัพท์ที่หลากหลายขึ้นเช่น へー、へぇー?(เสียงสูง)、えーっ?、(笑いながら)そう?、ふーん、なんだよー เป็นต้น
นอกจากนี้ก็ทำเสียงตัวเองให้มีสูงมีต่ำ ก็ทำให้คนเล่ามีความกระตือรือร้นที่จะเล่ามากขึ้น แถมบรรยากาศมันก็จะlivelyมากขึ้นด้วยค่ะ
内省
よくやったと思うポイント
มีการใช้คำหลากหลายขึ้น มีโทนเสียงสูง เสียงต่ำ เซฟบรรยากาศได้ ทำให้การเล่าเรื่องนั้นสนุก
これから頑張らなくちゃポイント
รู้สึกยังต้องพยายามอีกหน่อยในการเลือกใช้ศัพท์ ใช้น้ำเสียง(เพราะเราเป็นคนเสียงต่ำ) ท่าทางค่ะ
และสำหรับนิสัยตัวเอง คือต้องพยายามツッコミให้น้อยลงค่ะ (ขออ้างว่าติดนิสัยแบบ大阪人มา555)
気づいたポイント
นอกจากเสียงและคำศัพท์แล้ว เวลาเป็น聞き手ที่ดี ควรจะมีgestureด้วยค่ะ เช่น มองตาผู้พูด(สำหรับสังคมที่internationalหน่อย) หรือมองซักตรงปลายจมูกของผู้พูดก็ได้ค่ะ นอกจากนี้ ไม่ใช่แค่หัวเราะเพียงอย่างเดียว ควรยิ้มด้วย เพื่อสร้างบรรยากาศที่ดีค่ะ
อยากรู้พื้นฐานง่ายๆที่คนญี่ปุ่นใช้เป็นหลักในการเป็น聞き手กัน ลองอ่านลิ้งค์นี้ดูค่ะ Click✨聞き手になるための相槌
แม้กระนั้นคือก็ไม่ค่อยรู้อยู่ดีว่าあいづちอันไหนเป็นあいづちที่เหมาะสำหรับเรามากที่สุด
ระหว่างที่นอนป่วยอยู่เฉยๆบนเตียง5วัน ขยับไม่ค่อยได้ ทำอะไรเยอะมาก ยกเว้นเปเปอร์ที่ควรเสร็จตั้งแต่สงกรานต์ เช่น อ่าน『個人的な体験』ของ大江健三郎 เพื่อเตรียมพรีเซ้นท์, ดูซีรี่ส์เกาหลี, ฟังเพลงใหม่ของวงสุดเลิฟ อยากทำตัวเป็นประโยชน์บ้างเลยหารายการพวกทอล์คโชว์ バラエティดูค่ะ (ちょっと言い訳ですけど、、) แล้วสังเกตว่าพิธีกรเค้ามีการใช้あいづちแบบไหนกันบ้าง ซึ่งจะต่างกับการฟังแบบเพื่อนเล่าเรื่องธรรมดานิดนึงตรงที่ว่าระหว่างฟัง เราต้องleadรายการให้มันดำเนินต่อไปได้ด้วย ซึ่งเป็นขั้นadvanceนั่นเองค่ะ ซึ่งบางอันก็ใช้ได้กับการเป็น聞き手เวลาฟังเพื่อนเล่านู่นเล่านี่ บางอันก็อาจจะเป็น番組用ค่ะ แล้วแต่จริตความชอบ กับสถานการณ์เนอะ
ลิ้งค์ดูนะคะ มี3พาร์ท ตลกมากๆเลย →さんまの東大方程式part1/3
ญี่ปุ่น:さんまの東大方程式 ตอนแรกดูตัวคลิปที่ตัดมาจากในเพจ Japanese Baobaoในเฟซบุคค่ะ สนุก เลยไปหาตัวเต็มมาดู 3 ชั่วโมง เป็นรายการSpecial ที่มีพิธีกรคือ さんまさん (明石家さんま) เป็นメインMC ค่ะ ซึ่งเป็น関西人โดยแท้ และเป็นพิธีกร ซึ่งการツッコミของเค้าเนี่ย ไม่ธรรมดาซักเท่าไหร่ รู้สึกว่าเป็น聞き手ที่มีการinteractive กับคนพูดค่ะ ใช้คำหลากหลาย และใช้ความรู้รอบตัวด้วย ไม่ได้มีแค่การตอบรับว่าฟังอยู่เท่านั้นค่ะ ยังมีความใส่ใจในตัวผู้พูดและหยิบยกจุดที่ผู้พูดคนนั้นอยากพูดให้มันชัด และตลกขึ้นค่ะ เช่น มีเด็กโตไดคนนึงมีน้ำเสียงตอนพูดเหมือนพวกนักแสดง落語ค่ะ แล้วさんまさんก็หยิบเอาfeaturesตรงนั้นมาツッコミหลังจากเด็กคนนั้นพูดว่า「お後がよろしようで」(เป็นคล้ายๆオチของ落語ค่ะ ใช้ตอนเหมือนนักแสดง落語จะเล่นของตัวเองจบแล้ว แล้วคนอื่นจะมาเล่นต่อ พูดว่า お後がよろしいようで (ลองไปอ่านคำอธิบายภาษาญี่ปุ่นแบบละเอียดในลิ้งค์นะคะ) คือประมาณว่า อ่ะ พูดจบแล้ว จะไปถามคนอื่นแล้วนะ ประมาณนี้ค่ะ) คือด้วยความที่เป็น関西人ด้วยเลยจะツッコミเยอะกว่าคนอื่นหน่อยนึง แต่ก็สนุกดีค่ะ คือใช้ไหวพริบเยอะมาก
แถม✨ โพลของORICONเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาค่ะ さんまさんก็ติดอันดับ3พิธีกรที่คนญี่ปุ่นชอบด้วยค่ะ รองมาจากอันดับ1คือマツコ、อันดับ2คือタモリค่ะ 第9回好きな司会者ランキング
เกาหลี:Happy Together เป็นรายการทอล์คโชว์ที่มีมามากกว่า15ปีแล้วค่ะ โดยพิธีกรที่เป็น第一人者ของเกาหลีอย่าง ยูแจซอก(เสื้อสีขาวเทา ใส่แว่น) อย่างของเกาหลีจะเน้นที่over reaction อย่างการตบมือ และหัวเราะแบบoverค่ะ นอกจากนี้คำพูดคือส่วนใหญ่จะมีあいづちตอนที่เกสท์พูดจบแต่ละประโยคเช่น 아(あー) 예(はい)..그렇습니다(そうですね) 오(おー)ด้วยน้ำเสียงที่ต่างกัน เช่น กับเกสท์ที่มีอายุหน่อยใช้น้ำเสียงเรียบๆเพื่อความสุภาพค่ะ กับเกสท์ที่อายุเด็กกว่าก็น้ำเสียงร่าเริงขึ้นมาหน่อย แล้วก็จะมีพูดถาม หรือพูดสรุปเรื่องเวลาเกสท์เล่าไม่เคลียร์สั้นๆบ้างค่ะ สิ่งที่ชอบคือการใช้สายตาและการถือสคริปต์ไว้ในมือ ทำให้leadเรื่องไปต่อได้ค่ะ
✨สิ่งที่ตัวเองควรปรับปรุงแก้ไขในเรื่องあいづちหลังจากดูรายการ✨
1. ควรปรับการツッコミของตัวเองให้น้อยลง เพราะลองツッコミกับเพื่อนตัวเองตอนคุยโทรศัพท์มาแล้ว(พอツッコミปุ๊บ เค้าหยุดพูดเลย แล้วถามเราว่าจะพูดอะไรเหรอ) รู้สึกว่าถ้าไม่ใช่関西人นี่ ไม่เวิร์คเท่าไหร่ เหวอไปเลยค่ะ
2. ควรあいづちแบบใช้คำศัพท์หลากหลายหน่อย ไม่พูดซ้ำ
3. ควรถามกลับบ้างเล็กน้อยเพื่อ確認หรือまとめสั้นๆ
4. ถ้าเป็นเรื่องเล่าที่ดี ควรยิ้มและหัวเราะด้วยอย่างพอเหมาะ
5. ควรคอมเม้นท์บ้างเพื่อให้บทสนทนาไม่กร่อยค่ะ
เป็นอย่างไรบ้างคะ ลองไปฝึกใช้ดูนะคะ
「聞き手上手は仕事上手」だそうです!モテそうですし!
エミリーも良い聞き手になれるよう、頑張ります!✨✨✨
ขอโทษที่หายไปนานนะคะสำหรับสัปดาห์นี้
ป่วยเป็นโรคกระเพาะอาหารอักเสบค่ะ กระเพาะอาหารเป็นแผล
เลยนอนอย่างเดียวไม่ได้ทำอะไรเลยค่ะ 泣
กว่าจะอธิบายให้เพื่อนชาวญี่ปุ่นฟังให้รู้เรื่องว่าตัวเองเป็นอะไร
คือนานมากค่ะ เลยอยากมา อธิบายศัพท์โรคกระเพาะให้ฟังค่ะ (ก่อนเราเข้าเรื่องของจริงค่ะ) 笑
✨คำศัพท์น่ารู้✨
โรคเกี่ยวกับกระเพาะ 胃病
โรคกระเพาะอาหารอักเสบ 胃潰瘍
โรคกระเพาะอาหารอักเสบแบบเฉียบพลัน 急性胃潰瘍
โรคกระเพาะอาหารอักเสบแบบติดเชื้อ 慢性胃潰瘍
กระเพาะอาหารเป็นแผล びらん
กระเพาะทะลุ (胃に)穴があいてしまう。
เชื้อโรคPylorus(เชื้อโรคในกระเพาะอาหาร) ピロリ菌
การส่องกล้องตรวจภายใน(ร่างกาย) 内視鏡検査
กล้องส่องกระเพาะ 胃カメラ
เอ็กซ์เรย์ X射線
มาค่ะ เรามาเข้าเรื่องการบ้านกันดีกว่าค่ะ
それはあいづち!!!
Before
外国人
เราติดการあいづちแบบเดิมๆ แบบไทยๆ คือ"อืม", "แล้วไงต่อ", แทรกเพื่อนพูด 55555
การあいづちของภาษาญี่ปุ่นของเรา ก็เลยติดรูปแบบมาจากภาษาไทย มีอยู่แค่5แบบค่ะ คือうん、えっ?、で?、ツッコミ、笑い วนไปวนมาอย่างนี้ล่ะค่ะ มันเลยไม่ค่อย盛り上がるซักเท่าไหร่ แล้วนำเสียงเราก็เรียบๆ เสียงต่ำด้วยค่ะ
After
ハゲの彼氏
เมื่อเริ่มเรียนรู้การあいづちที่ดีและเหมาะสมกับเราแล้ว ก็ลองมาใช้ดูค่ะ รู้สึกว่ามันไม่ค่อยวนที่5อย่างด้านบนเท่าไหร่แล้ว เริ่มมีการทักทายกับผู้พูดตอนต้น(挨拶)มีการ繰り返し มีการใช้คำศัพท์ที่หลากหลายขึ้นเช่น へー、へぇー?(เสียงสูง)、えーっ?、(笑いながら)そう?、ふーん、なんだよー เป็นต้น
นอกจากนี้ก็ทำเสียงตัวเองให้มีสูงมีต่ำ ก็ทำให้คนเล่ามีความกระตือรือร้นที่จะเล่ามากขึ้น แถมบรรยากาศมันก็จะlivelyมากขึ้นด้วยค่ะ
内省
よくやったと思うポイント
มีการใช้คำหลากหลายขึ้น มีโทนเสียงสูง เสียงต่ำ เซฟบรรยากาศได้ ทำให้การเล่าเรื่องนั้นสนุก
これから頑張らなくちゃポイント
รู้สึกยังต้องพยายามอีกหน่อยในการเลือกใช้ศัพท์ ใช้น้ำเสียง(เพราะเราเป็นคนเสียงต่ำ) ท่าทางค่ะ
และสำหรับนิสัยตัวเอง คือต้องพยายามツッコミให้น้อยลงค่ะ (ขออ้างว่าติดนิสัยแบบ大阪人มา555)
気づいたポイント
นอกจากเสียงและคำศัพท์แล้ว เวลาเป็น聞き手ที่ดี ควรจะมีgestureด้วยค่ะ เช่น มองตาผู้พูด(สำหรับสังคมที่internationalหน่อย) หรือมองซักตรงปลายจมูกของผู้พูดก็ได้ค่ะ นอกจากนี้ ไม่ใช่แค่หัวเราะเพียงอย่างเดียว ควรยิ้มด้วย เพื่อสร้างบรรยากาศที่ดีค่ะ
อยากรู้พื้นฐานง่ายๆที่คนญี่ปุ่นใช้เป็นหลักในการเป็น聞き手กัน ลองอ่านลิ้งค์นี้ดูค่ะ Click✨聞き手になるための相槌
******
ระหว่างที่นอนป่วยอยู่เฉยๆบนเตียง5วัน ขยับไม่ค่อยได้ ทำอะไรเยอะมาก ยกเว้นเปเปอร์ที่ควรเสร็จตั้งแต่สงกรานต์ เช่น อ่าน『個人的な体験』ของ大江健三郎 เพื่อเตรียมพรีเซ้นท์, ดูซีรี่ส์เกาหลี, ฟังเพลงใหม่ของวงสุดเลิฟ อยากทำตัวเป็นประโยชน์บ้างเลยหารายการพวกทอล์คโชว์ バラエティดูค่ะ (ちょっと言い訳ですけど、、) แล้วสังเกตว่าพิธีกรเค้ามีการใช้あいづちแบบไหนกันบ้าง ซึ่งจะต่างกับการฟังแบบเพื่อนเล่าเรื่องธรรมดานิดนึงตรงที่ว่าระหว่างฟัง เราต้องleadรายการให้มันดำเนินต่อไปได้ด้วย ซึ่งเป็นขั้นadvanceนั่นเองค่ะ ซึ่งบางอันก็ใช้ได้กับการเป็น聞き手เวลาฟังเพื่อนเล่านู่นเล่านี่ บางอันก็อาจจะเป็น番組用ค่ะ แล้วแต่จริตความชอบ กับสถานการณ์เนอะ
タイvs日本vs韓国の司会者のあいづちを見比べましょう!!
ไทย:Club Friday Show เป็นรายการที่ให้เหล่าดารา เซเลบ มาเล่าประสบการณ์ชีวิตรักตัวเองค่ะ
จะมีพิธีกร 3 คน ก็คือ พี่อ้อย พี่ฉอด และ อั๋น ภูวนาทค่ะ ซึ่งตามสไตล์ไทยเลย ส่วนใหญ่นอกจากคำถามหลักๆที่เกริ่นถามให้ดาราที่เป็นเกสท์พูดแล้ว ส่วนใหญ่จะเงียบมากเวลาเกสท์เล่าเรื่อง มีพยักหน้าบ้าง แต่ทุกคนคือจะมองไปที่เกสท์ตลอดค่ะ ตัวของพี่อ้อยจะพูด "อืม" หรือ "ค่ะ" บ้างเพื่อให้รู้ว่า ฟังอยู่นะ ส่วนตัวพี่ฉอดจะมีพูดแทรกเพื่อถามและคอมเม้นท์บ้างเล็กน้อย(เล็กน้อยมากก)ค่ะ ส่วนอั๋น ภูวนาท จะเป็นคนถามคำถามย่อยๆ เช่น พวกถามรายละเอียดเวลาดาราเล่าจบค่ะ ส่วนใหญ่คือสไตล์ไทยจะเงียบๆใช้การพยักหน้าและการมองผู้พูดเอาค่ะ
ลิ้งค์ดูนะคะ มี3พาร์ท ตลกมากๆเลย →さんまの東大方程式part1/3
ญี่ปุ่น:さんまの東大方程式 ตอนแรกดูตัวคลิปที่ตัดมาจากในเพจ Japanese Baobaoในเฟซบุคค่ะ สนุก เลยไปหาตัวเต็มมาดู 3 ชั่วโมง เป็นรายการSpecial ที่มีพิธีกรคือ さんまさん (明石家さんま) เป็นメインMC ค่ะ ซึ่งเป็น関西人โดยแท้ และเป็นพิธีกร ซึ่งการツッコミของเค้าเนี่ย ไม่ธรรมดาซักเท่าไหร่ รู้สึกว่าเป็น聞き手ที่มีการinteractive กับคนพูดค่ะ ใช้คำหลากหลาย และใช้ความรู้รอบตัวด้วย ไม่ได้มีแค่การตอบรับว่าฟังอยู่เท่านั้นค่ะ ยังมีความใส่ใจในตัวผู้พูดและหยิบยกจุดที่ผู้พูดคนนั้นอยากพูดให้มันชัด และตลกขึ้นค่ะ เช่น มีเด็กโตไดคนนึงมีน้ำเสียงตอนพูดเหมือนพวกนักแสดง落語ค่ะ แล้วさんまさんก็หยิบเอาfeaturesตรงนั้นมาツッコミหลังจากเด็กคนนั้นพูดว่า「お後がよろしようで」(เป็นคล้ายๆオチของ落語ค่ะ ใช้ตอนเหมือนนักแสดง落語จะเล่นของตัวเองจบแล้ว แล้วคนอื่นจะมาเล่นต่อ พูดว่า お後がよろしいようで (ลองไปอ่านคำอธิบายภาษาญี่ปุ่นแบบละเอียดในลิ้งค์นะคะ) คือประมาณว่า อ่ะ พูดจบแล้ว จะไปถามคนอื่นแล้วนะ ประมาณนี้ค่ะ) คือด้วยความที่เป็น関西人ด้วยเลยจะツッコミเยอะกว่าคนอื่นหน่อยนึง แต่ก็สนุกดีค่ะ คือใช้ไหวพริบเยอะมาก
แถม✨ โพลของORICONเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาค่ะ さんまさんก็ติดอันดับ3พิธีกรที่คนญี่ปุ่นชอบด้วยค่ะ รองมาจากอันดับ1คือマツコ、อันดับ2คือタモリค่ะ 第9回好きな司会者ランキング
เกาหลี:Happy Together เป็นรายการทอล์คโชว์ที่มีมามากกว่า15ปีแล้วค่ะ โดยพิธีกรที่เป็น第一人者ของเกาหลีอย่าง ยูแจซอก(เสื้อสีขาวเทา ใส่แว่น) อย่างของเกาหลีจะเน้นที่over reaction อย่างการตบมือ และหัวเราะแบบoverค่ะ นอกจากนี้คำพูดคือส่วนใหญ่จะมีあいづちตอนที่เกสท์พูดจบแต่ละประโยคเช่น 아(あー) 예(はい)..그렇습니다(そうですね) 오(おー)ด้วยน้ำเสียงที่ต่างกัน เช่น กับเกสท์ที่มีอายุหน่อยใช้น้ำเสียงเรียบๆเพื่อความสุภาพค่ะ กับเกสท์ที่อายุเด็กกว่าก็น้ำเสียงร่าเริงขึ้นมาหน่อย แล้วก็จะมีพูดถาม หรือพูดสรุปเรื่องเวลาเกสท์เล่าไม่เคลียร์สั้นๆบ้างค่ะ สิ่งที่ชอบคือการใช้สายตาและการถือสคริปต์ไว้ในมือ ทำให้leadเรื่องไปต่อได้ค่ะ
✨สิ่งที่ตัวเองควรปรับปรุงแก้ไขในเรื่องあいづちหลังจากดูรายการ✨
1. ควรปรับการツッコミของตัวเองให้น้อยลง เพราะลองツッコミกับเพื่อนตัวเองตอนคุยโทรศัพท์มาแล้ว(พอツッコミปุ๊บ เค้าหยุดพูดเลย แล้วถามเราว่าจะพูดอะไรเหรอ) รู้สึกว่าถ้าไม่ใช่関西人นี่ ไม่เวิร์คเท่าไหร่ เหวอไปเลยค่ะ
2. ควรあいづちแบบใช้คำศัพท์หลากหลายหน่อย ไม่พูดซ้ำ
3. ควรถามกลับบ้างเล็กน้อยเพื่อ確認หรือまとめสั้นๆ
4. ถ้าเป็นเรื่องเล่าที่ดี ควรยิ้มและหัวเราะด้วยอย่างพอเหมาะ
5. ควรคอมเม้นท์บ้างเพื่อให้บทสนทนาไม่กร่อยค่ะ
เป็นอย่างไรบ้างคะ ลองไปฝึกใช้ดูนะคะ
「聞き手上手は仕事上手」だそうです!モテそうですし!
エミリーも良い聞き手になれるよう、頑張ります!✨✨✨
นี่ขนาดป่วย แต่ดูจบไปสามรายการ สุดยอดมากๆ555555 ขอให้หายเร็วๆ พักผ่อนเยอะๆน้าาา
返信削除รายการของไทย ถ้าเอารายการที่คล้ายๆกันมาเทียบอาจจะคล้ายๆของญี่ปุ่น(?) แต่รายการนี้รู้สึกว่าพิธีกรเป็นผู้ฟังที่ดีมากๆ ควรเอาเป็นแบบอย่าง
รายการวาไรตี้ญี่ปุ่นนี่ส่วนตัวเรารู้สึกว่ามีツッコミเยอะอยู่แล้วอ่ะ (หรือเพราะเราดูแต่รายการแบบนี้ด้วยมั้ง555555)
เรื่องการใช้ あいづちนี่บางทีก็ต้องอยู่ที่ว่าคนพูดเป็นใครด้วยเนอะ เรารู้สึกว่าพอพูดกับคนไทย ต่อให้พูดเป็นญี่ปุ่นมันก็ยังมีความรู้สึกว่าเป็นคนไทยอ่ะเลยไม่ได้ใช้ あいづちมากเท่าไหร่ (เกี่ยวมั้ย?55555) แต่พอพูดกับคนญี่ปุ่นบางทีก็รู้สึกว่าก็หลุดใช้あいづちออกมานะ