第2回:クラッシェンのインプット

2017年1月24日(火)
Second Language Acquisition หรือ 第二言語習得
ถึงเราจะเรียนหลายภาษาแค่ไหน แต่ในทางภาษาศาสตร์ก็ยังเป็น第二言語習得อยู่ดี รู้สึกไม่คุ้มเลย555

อ้อ แล้วในวีคนี้ก็ได้รู้จักกับ 👤クラッシェン หรือ Stephen Krashen (1941〜)🇺🇸
นักภาษาศาสตร์ ที่เป็นผู้คิดค้นทฤษฎี 5 ข้อเกี่ยว Second Language Acquisition (SLA) ดังนี้
  • the Acquisition-Learning hypothesis
  • the Monitor hypothesis
  • the Input hypothesis
  • the Natural Order hypothesis
  • the Affective Filter hypothesis
ซึ่งในสัปดาห์ที่ผ่านมาก็ได้เรียน the Input hypothesis
ทฤษฎีนี้ประกอบไปด้วย 3 ปัจจัยหลักๆคือ
⑴ 大量のインプット lots of input 
⑵ 理解可能なインプット comprehensible input 
       *โดยที่สิ่งที่เรารับมา เราต้องพอเข้าใจได้ประมาณ70-80% 
⑶ i+1 ความรู้ที่ดีที่จะให้ได้คือ ความรู้ปัจจุบัน+1step ถึงจะเกิดการเรียนรู้ที่ดีได้ = comprehensible input ถ้ายากกว่าความรู้ปัจจุบันมากไป = too challenging ทำให้ผู้เรียนไม่เกิดการเรียนรู้ เช่น อาจจะถอดใจไปง่ายๆนั่นเอง

✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨

อีกเรื่องหนึ่งที่พูดถึงในสัปดาห์นี้คือ 自己分析・自己紹介
จากอาทิตย์แรกที่ให้ฝึกแนะนำตัวแบบพื้นฐานไปแล้วว่าชื่ออะไร วิจัยอะไรอยู่ ทำอะไรคลายเครียดบ้าง
ก็เริ่มขยับการแนะนำตัวมาเป็นแบบprofessionalมากยิ่งขึ้น นอกจากข้อมูลส่วนตัวขั้นพื้นฐานของเราแล้ว
เขียนอย่างไร ให้คนที่อ่าน รู้จักตัวตนของเรา เรื่องราวของเรา...น่าคิดมาก

วิธีการเขียน自己紹介ให้น่าสนใจก็มีง่ายๆดังนี้
✨名前を覚えてもらう。→何度も繰り返す2〜3回ぐらい。
     เน้นย้ำชื่อตัวเองสัก 2−3 ครั้ง (เป็นปัญหามากสำหรับคนไทย เพราะชื่อจริง-นามสกุลเรายาววว)
同じ言葉(テーマ)を何度も書く。
     เขียนคำที่เราอยากจะเน้นย้ำในประโยคแนะนำตัวหลายๆครั้ง ให้มันกลายมาเป็นจุดเด่นของเรา ให้คนจำได้ว่า เอ้อ คนนี้เองที่ชอบกินส้ม (สมมติ)
自分のイメージアピール。
     ควรเขียนให้ดึงดูด และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับตนเอง เช่น 女子力が高い人 อาจจะเขียนว่า ชอบทำอาหาร ถักนิตติ้ง อะไรประมาณนี้

✏️เมื่อลองเขียนดูบ้าง→ส่งอาจารย์→ให้เพื่อนในคลาสอ่าน→feedback

私の名前は10です。22で、焼肉と映画が大好きな人です。実家はバンコクです。カール・グスタフ・ユングは「世界はIの人(消極的)とEの人(積極的)、2つのタイプに分けられている」と言っています。やっぱり、私はEの人です。社会と新しい人々に出会うことが好きなので、旅行に立つことが一番大好きです。一人旅も結構出ていますので、一番印象に残ったのは沖縄ドライブ旅行と富士登山です。その時、研究しているテーマは作品の(主人公の仮構世界からの)脱出ですので、自分もどこかに脱出したいなあと思って、最初は沖縄で一人で海沿いドライブをしたり、スキューバダイビングをしたりしました。沖縄の旅行のあと、一人で富士登山に行きました。人生初登山なので、心配していましたが、「これをできたら、何にもできる」と自分が決心し、頂上まで無事に登りました。登ることができました。その時から、自分には「できないことはない」と全部の悩みを乗り越え(て来)られたのです。
(400字)

____=ข้อควรระวัง
๘๘๘๘๘๘ = จุดที่อาจารย์คิดว่าดี
จุดที่ต้องแก้ไข
ตัวอย่างที่ใช้แล้วธรรมชาติกว่า

感想:เขียนออกมาแล้ว ถือว่าพอใจในระดับนึง เพราะตอนแจกให้เพื่อนในคลาสอ่านแล้ว กลุ่มนั้นเค้าก็เลือกของเรา ว่าน่าประทับใจ อยากรู้จัก!ดูadventurousดี ซึ่งมันก็เป็นการ再発見ในตัวเราด้วยนะ เพราะเราไม่คิดว่าตัวเองadventurousเลยยย แค่เป็นคนที่อยากทำอะไรก็ทำ แถมถ้าดูหน้าตาประกอบก็ไม่ค่อยจะมีคนอยากรู้จักเท่าไรนัก
คิดว่าตัวเองมีจุดที่น่าสนใจ โดยเฉพาะเรื่อง脱出 ตอนนั้นคิดแบบนั้นจริงๆ (ยิ้มอ่อน) แล้วก็แกรมม่าร์ผิดแบบนิดหน่อย แต่ก็ควรระวังจริงๆแหละ ถ้าเราอยากใช้ภาษาที่สวยกว่าที่เราใช้อยู่ ให้ใกล้เคียงกับเจ้าของภาษาก็ต้องจำเรื่องอย่างนี้ไว้ เพราะอยู่ในจุดที่ไม่ใช่ถูกผิดแกรมม่าร์แล้ว แต่เป็นว่า ใช้แบบไหนให้มันอ่าน/ฟังแล้วธรรมชาติ ภาษาสละสลวยกว่า 

อีกเรื่องหนึ่งคือ ช่วงนี้ชอบเอาภาษาที่เจอในทวิตเตอร์มาใช้เช่น 一番大好き คือน่าจะเหมือนชอบมากๆ
แต่ตอนนั้นคิดอีกแง่ในใจว่า 一番大好き→愛やん!คนมันรักอะค่ะ แต่ใช้ในทวิตเตอร์พอ

เพราะ応用言語学 คือการใช้ภาษาแบบดูความเหมาะสม ฉะนั้นเราต้องดูว่ามันใช้ได้ในสถานการณ์ไหนบ้าง

อีกอย่างไม่ได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งในประโยคตัวอย่างที่ดีอะ แอบ悔しいเบาๆ เพราะเรา負けず嫌い
คราวหน้าต้องทำให้ได้!!!

✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨
พาร์ทต่อมา
อาจารย์ให้อ่าน自己分析・自己紹介 6 ตัวอย่างในห้อง
มีอันที่ประทับใจอยู่ 2 อันคือ
⑴ 経験から学んだこと:เจ้าของเรื่องเล่าว่า 不器用 เลยต้องเตรียมตัว ต้องฝึกฝนในสิ่งเดิมๆซ้ำๆ แล้วก็ได้รับคำชม รวมทั้งผลลัพธ์ที่ดี
อันนี้บอกเลยว่า เป็นสิ่งที่เราอยากเป็นที่สุด แต่ทำไม่ได้ โดยนิสัยและสันดานโดยธรรมชาติที่เป็นคนขี้เกียจ😅
⑵ 対等なことを大事に:スタンスを変えない 
พออ่านแล้ว รู้สึกว่านี่คือสิ่งที่เป็นตัวตนของเรา คล้ายกับเรามากๆ สามารถยึดมาเป็นตัวอย่างได้ ชอบเพราะ共感ได้นั่นเอง

เอนทรี่ถัดไปจะมาต่อเรื่องการเรียน自己分析・自己紹介ที่ไปเขียนในLang-8นะคะ♡

コメント

このブログの人気の投稿

Homeworkあいづち+สิ่งทีคิดได้ยามป่วย(เป็นโรคกระเพาะ)

第11回:Merrill Swain's Comprehensible Output (CO)

イントロ&エントリーNo.①:ゲゲゲの女房