投稿

3月, 2017の投稿を表示しています

好きなバンドー「I don't like Mondays.」を紹介します!

イメージ
みなさん〜おはようドレミ!エミリーです。 คือนึกคอนเทนต์ไม่ออกเลยขอเอาที่เขียนดราฟท์ไว้มาลงนะคะ (จุดพลังความติ่ง) ก่อนอื่น...(ต่อไปนี้คือความชอบส่วนตัวที่อยากแชร์เฉยๆ) ขอแนะนำวงดนตรีญี่ปุ่นในดวงใจกันก่อนเลย... ขอบคุณรูปจาก https://minipipami.wordpress.com/tag/i-dont-like-mondays/ แค่ชื่อ..ก็กินขาดแล้วใช่มั้ยคะ 「I don't like Mondays.」←ต้องมีจุดฟูลสต็อปด้วยนะ จากซ้ายไปขวา 兆志 โชจิ (กีต้าร์), 悠 ยู (ร้องนำ), 健二 เคนจิ(เบส), 秋気 ชูกิ (กลอง) เหตุผลเค้าบอกไว้ว่าชื่อวงยาวอีกทั้งอยากให้เป็นประโยคในตัวเลยใส่จุดฟูลสต็อปลงไป แถมธีมของวงคือ ไหนก็ชื่อ I don't like Mondays. แล้วก็ให้วันจันทร์เป็นวันหยุดประจำของวงไปซะเลย (เมื่อก่อนมีกฎว่าถ้าวันจันทร์สัปดาห์ไหนเป็นวันหยุดอยู่แล้ว จะเลื่อนไปหยุดวันอังคารแทนค่ะ) ก็แหมมีใครจะรักวันจันทร์ที่เป็นวันแรกของสัปดาห์ ต้องตื่นเช้าไปเรียน ไปทำงานกันเล่า จริงมั้ย? แต่ว่าเดี๋ยวนี้หนุ่มๆวงนี้เค้าก็รับงานวันจันทร์นะคะ เพราะอยากให้วันจันทร์อันแสนหดหู่ของทุกคนนั้น มีชีวิตชีวากันขึ้นมาบ้างก็ยังดี จากการฟังเพลงของพวกเขานั่นเองค่ะ (อธิบายแปล

第9回:Implicit vs Explicit, IL, 良い描写とは?

イメージ
สวัสดีค่ะ こんばんは。エミリーです。 ตอน8หายไปไหน คือความจริงแล้วมันรวบยอดไปกับตอน7แล้วนะคะ5555 ต่อยอดจากกระบวนการเรียนรู้ Input->Intake->Output จากคราวที่แล้วนะคะ เราก็จะมาดูว่าเจ้ากระบวนการ Intake ซึ่งเป็นกระบวนการตรงกลางในการเรียนรู้ของเราเนี่ยมันทำกันอย่างไรบ้าง จากภาพจะเห็นอยู่ 2 คำที่เป็นKeyword ของสัปดาห์นี้เลยก็คือ "DEVELOPING IL SYSTEM" และ "IMPLICIT KNOWLEDGE" แล้ว 2 คำนี้มันคืออะไรกันล่ะ?... IL SYSTEM -> InterLanguage (中間言語)คือภาษาที่อยู่ใน(กระบวนการ)ตรงกลางระหว่างภาษาแม่(母語) เพื่อทำความเข้าใจและเรียนรู้ภาษาที่2ซึ่งเป็นภาษาเป้าหมายของเรา(目標言語)ในการเรียนค่ะ ซึ่งภาษาตรงกลางของเราเนี่ย มันก็จะเปลี่ยนไปเรื่อยๆปรับความเข้มความอ่อนได้ สมมติว่าถ้าเราศึกษามันเยอะๆ อยู่กับเจ้าของภาษาที่2ที่เราเรียนเยอะๆ เจ้าInterLanguageของเรา(หรือระดับความสามารถทางภาษา หรือ ความเป๊ะของภาษาต่างประเทศนั้นๆของเรา)มันก็จะขยับไปอยู่ใกล้ภาษาที่2ที่เป็น目標言語มากขึ้น ถ้าเราไม่ได้ใช้มันนานๆ มันก็อาจจะขยับกลับไปอยู่ใกล้ๆภาษาแม่ของเรามากกว่าได้นั่นเองค่ะ ส่วนImplicit Knowledge(暗示的

描写のimprovement! ฝึกเล่าให้รู้เรื่อง!

イメージ
สวัสดีค่ะ こんばんは。エミリーです! จากวีคที่7ที่เราได้เรียนการ描写 เล่าเรื่องให้เป็นภาพ(?) ไปแล้วก็ฝึกเล่าเรื่องจากการ์ตูน4ช่องกันในคลาสดู ก็มาลองถอดเสียงว่าที่ฝึกเล่าเรื่องจากการ์ตูนนั้นมันมีพัฒนาการขึ้นมาบ้างมั้ย... โดยรูปแรกที่เราได้คืออันนี้ค่ะ โดยที่เพื่อนที่ฟังเราพูด จะไม่เห็นรูปที่เรามอง เค้าจะต้องเข้าใจจากที่เราเล่าให้ฟังเท่านั้น!ยากมาก!55555 ある赤ちゃんと犬がいます。赤ちゃんは犬に乗ろうとしています。背中 ね 。(ミャーオ:うん)でも、 犬と顔を合わせて 、えっ、どうやって乗ろう かなあ と思って、で、赤ちゃんが「あー!後ろから乗れるじゃない?」と思って、さっき、 正面、正面? 正面じゃない。なんか犬の顔、 まあ、なんていう ? まあ 、犬の背中に乗ろうとし、後ろから、まあ、向かないといけない。顔じゃなくて、で、赤ちゃんが一周 ハイ して背中に乗ろうとする ね 。でも、一周回っていっても、また犬の顔に合っちゃった。後ろじゃなくて、また犬の顔に合っちゃったって、「へっ!」、 なんか 、すごい「えっ!」ってした の !(ミャーオ:うんうん) で、おしまい! (ミャーオ:笑笑、わかんない) だってだって 、一周回ってっても、犬の背中に後ろから乗れない もん 。(ミャーオ:あー!一周!)だから、えっ!尻尾なはずじゃない?って思ってました。 で、おしまい! (2分33秒) โดยสีแดง คือ เป็นจุดที่เรายังงงๆอยู่ ว่าจะพูดว่าอย่างไรดี ส่วนสีน้ำเงินคือ พอเล่าแล้วกลายเป็นว่าเล่าจากมุมมองตัวเอง เล่าแบบเม้าท์ๆให้เพื่อนฟังงี้ แทนที่จะเล่านิทานเป็นเรื่องเป็นราวค่ะ เหมือนว่าเล่าไปแล้วเพื่อนยังงงๆอยู่ เลยต้

第7回:その記憶はいつまで覚えていますか?

イメージ
สวัสดีค่ะ こんばんは。エミリーです。 หลายคนอาจจะงงว่า อ้าว..ครั้งที่5กับ6ไปไหน บล็อกเราพิเศษค่ะ 4แล้ว7เลย ไปคิวชูมาอัพทดแทนครั้งที่หายไปแล้วนะคะ ไปตามอ่านได้^___^ ในครั้งที่ผ่านๆมาเราได้เรียนเรื่อง input กันมาเยอะมากๆ คราวนี้เราก็จะมาต่อยอดว่าเมื่อเรารับinputมาแล้ว สมองของเราจะเอาไปทำอย่างไรต่อ ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ของสมองเราอย่างคร่าวๆเลยก็จะเป็นกระบวนการ " input→intake→output " คือเราจำว่า เหมือนกับการที่เรากินอาหาร ซึ่งในที่นี้ก็คืออาหารสมอง(input) แล้วร่างกายดูดซึมเอาสารอาหารไปใช้(intake) แล้วร่างกายก็เอาพลังงานไปใช้ประโยชน์ เช่น ออกแรง(output)ค่ะ ซึ่งที่จริงแล้วมันมีรายละเอียดปลีกย่อย และกระบวนการนู่นนี่นั่นกว่าinputจะออกมาเป็นoutputเยอะมาก ที่สำคัญเลยคือต้องมี インプット強化กับ気付き ถึงจะเกิดการเรียนรู้จากinputที่ดี เพื่อให้กระบวนการมันดี เหมือนกินอาหารแล้วถ้าเราเคี้ยวข้าวมาดีๆมันก็จะย่อยง่าย ซึ่งนอกจากนี้ เค้าก็พูดถึงความจำ(สั้น แต่รักฉันยาว←มุกโบราณอีกแล้ว ขออภัย) ว่ามันจะมีความจำอยู่ 2แบบคือ 1. Short/Medium-term Memory/Working Memory(短期記憶)  และ 2. Long-te

学部紹介!แนะนำคณะอักษร!

イメージ
สวัสดีค่ะ มาช้ามากๆแต่ก็มาแล้วนะคะ ขอโทษด้วยที่ช้าเพราะนึกว่าวันที่5คือวันจันทร์ㅠ_____ㅠ ช่วงนี้ขี้หลงขี้ลืมมากจริงๆตั้งแต่ทำวิจัย (ทำวิจัยแล้วเจอเรื่องที่ไม่เหมาะสมที่ไม่เกี่ยวกับเนื้อหาวิจัยมาเยอะมากๆแต่ก็ต้องทนอะเนอะ 辛いです) ตอนอาจารย์ให้ทำการเขียนแนะนำมหาวิทยาลัย ก็เลือกที่จะเขียนแนะนำคณะอักษรเนี่ยแหละ เนื่องจากในมหาวิทยาลัยชอบคณะตัวเองที่สุดแล้วค่ะ ขั้นตอนก็คือ เขียนโครงร่างเป็นภาษาไทยก่อน→เขียนภาษาญี่ปุ่นด้วยตัวเอง→อาจารย์ฟีดแบ็คกลับมา→เขียนครั้งสุดท้าย เราก็อยากเขียนด้วยหัวข้อ คณะอักษรมีความหลากหลาย ประเด็น “ความหลากหลาย” ไม่ว่าจะเป็นทางด้านวิชาการ หรือสภาพแวดล้อม สังคมภายในคณะ จุดขายที่จะนำเสนอ ที่คณะอักษรศาสตร์ เราเลือกที่จะเรียนอะไรก็ได้ มี วิชาที่หลากหลาย ภาษา วรรณกรรม วัฒนธรรม รวมทั้ง ศาสตร์อย่าง ภูมิศาสตร์ สารนิเทศ ศิลปะการละคร ประวัติศาสตร์ ปรัชญา อักษรมี15วิชาเอก 28วิชาโท 19ศาสตร์ภาษา 12ศาสตร์แขนง สภาพแวดล้อม มีความหลากหลาย เราสามารถจะเป็นอะไรก็ได้ อักษรศาสตร์ให้อิสระในตัวตน สอนให้มองที่ มนุษย์เป็นมนุษย์ เป็นปัจเจกชน สังคม เราจะมีไลฟ์สไตล์แบบไหนก็ได้ เพราะเร